วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ອົງປະກອບເຂຶ່ອນໄຟຟ້າກ່ອນສົ່ງຂາຍ

ທ່ານຮູ້ບໍ່ວ່າ ກ່ອນທີ່ຈະຜະລິດໄຟຟ້າດ້ວຍພະລັງງານນໍ້າເພື່ອສົ່ງຂາຍ ຈະຕ້ອງມີອົງປະກອບຫຍັງແດ່
ຂອບໃຈພາບຈາກ:Namtheun2

วันจันทร์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2564

โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้าไซยะบุรี (Xayaburi Hydroelectric Power Project)

โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้าไซยะบุรี
(Xayaburi Hydroelectric Power Project)


ความเป็นมา

การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ทาให้ความต้องการใช้ไฟฟ้า เพิ่มขึ้นอย่า ง
ต่อเนื่องทุกๆ ปี กระทรวงพลังงานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยมีภารกิจ สาคัญในการ
จัดหาแหล่งผลิตไฟฟ้าเพื่อรองรับ ความต้องการใช้ไฟฟ้า ให้เพียงพอและมั่นคง โดยมีอัตราค่าไฟฟ้า ที่
เหมาะสม และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
จากภารกิจดังกล่าว กระทรวงพลังงานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้วางแผน
พัฒนากาลังผลิ ตไฟฟ้า โดยพิจ ารณาแหล่ งผลิตภายในประเทศเป็นอั นดับแรก ซึ่ งประกอบด้ว ย
โรงไฟฟ้าพลังความร้อนที่ใช้เชื้อเพลิงสะอาด เช่น ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินคุณภาพสูง โรงไฟฟ้าพลังน้า
แบบสูบกลับ การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เป็นต้น โดยมีการกระจายแหล่งเชื้อเพลิงในการ
ผลิตไฟฟ้าอย่างหลากหลาย เพื่อให้เกิดความมั่นคงต่อระบบการผลิตไฟฟ้า
นอกจากการจัดหากาลังผลิตไฟฟ้าในประเทศแล้ว ยังมีอีกทางเลือกหนึ่งที่สาคัญ คือ การรับซื้อ
ไฟฟ้า จากประเทศเพื่อนบ้า น โดยรัฐบาลไทยได้ล งนามบันทึก ความเข้ า ใจ (Memorandum of
Understanding : MOU) กับรัฐบาลประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(สปป.ลาว) สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐประชาชนจีน
เพื่อส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าในประเทศเพื่อนบ้านสาหรับจาหน่ายให้ประเทศไทย โดยโครงการโรงไฟฟ้า
พลังน้าไซยะบุรี เป็นโครงการที่ จะผลิตพลังงานไฟฟ้าเพื่อจ าหน่า ยให้แก่ประเทศไทยภายใต้บัน ทึก
ความเข้าใจระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาล สปป. ลาว
ลักษณะโครงการ

โครงการโรงไฟฟ้า พลังน้าไซยะบุรี ตั้งอยู่ในแขวงไซยะบุรีของ สปป.ลาว เป็นการสร้า งเขื่อน
ทดน้าบนแม่น้าโขงเพื่อยกระดับน้าให้สูงขึ้น โดยไม่มีการผันน้าออกจากแม่น้าโขงและไม่มีการกักเก็บ
น้าเหมือนเขื่อนที่มีอ่างเก็บน้าทั่วๆ ไป การสร้างเขื่อนทดน้าจะทาให้ระดับน้าในแม่น้าโขงสูงขึ้นเฉพาะ
ช่วงแขวงไซยะบุรี ไปถึงตอนใต้ของเมืองหลวงพระบาง โดยมีระดับน้าใกล้เคียงกับระดับน้าสูงสุดในฤดู
น้าหลากตามธรรมชาติ ส่วนตอนล่างของแม่น้าโขงจะมีระดับน้าปกติตามธรรมชาติ




โครงการโรงไฟฟ้า พลังน้าไซยะบุรี มีลักษณะเป็นเขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็ก ยาว 810 เมตร
ความสูงหัวน้าใช้งาน (Rated Net Head) 28.5 เมตร มีการติดตั้งประตูระบายน้าเพื่อใช้ผ ลิต
กระแสไฟฟ้าจานวน 10 บาน โดยติดตั้งเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนาด 175 เมกะวัตต์ จานวน 7 เครื่อง
เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้าให้แก่ประเทศไทย และขนาด 60 เมกะวัตต์ จานวน 1 เครื่อง เพื่อผลิตพลังงาน
ไฟฟ้าให้แก่ สปป. ลาว รวมกาลังผลิตติดตั้งทั้งสิ้น 1,285 เมกะวัตต์ สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้
เฉลี่ยปีละ 7,370 ล้านหน่วย

โครงการนี้ออกแบบให้มีประตูน้าสาหรับเรือสัญจรติดกับเขื่อนด้านขวา กว้าง 12 เมตร ยาว
120 เมตร เพื่อรองรับการสัญจรทางน้าสาหรับเรือขนส่งขนาด 500 ตัน และมีทางปลาผ่านเพื่อรักษา
พันธุ์ปลา กว้าง 10 เมตร ติดกับเขื่อนด้านซ้าย นอกจากนี้ ยังออกแบบให้มีทางระบายน้าล้นฉุกเฉิน
เพื่อช่วยระบายน้าเมื่อเกิดอุทกภัยในฤดูน้าหลาก เมื่อโครงการสร้างแล้วเสร็จ จะปล่อยน้าไหลผ่านใน
แต่ละวันเท่ากับปริมาณน้าที่ไหลเข้า โดยไม่มีการกักเก็บน้าไว้ ดังนั้น ปริมาณน้าในลุ่มแม่โขงจะเป็นไป
ตามธรรมชาติตลอดทั้งปี
ประโยชน์ของโครงการ
เมื่อโครงการไซยะบุรีก่อสร้างแล้วเสร็จ จะส่งพลังไฟฟ้าให้ประเทศไทยจานวน 1,220 เมกะวัตต์
ที่จุดส่งมอบไฟฟ้าชายแดนไทย-ลาว เป็นระยะเวลา 29 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป คิดเป็น
พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยประมาณปีละ 6,929 ล้านหน่วย โครงการฯ มีอัตราค่าไฟฟ้าคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง
ตามราคาเชื้อเพลิงในตลาดโลก และยังเป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่แข่งขันได้เมื่อเปรียบเทียบกับทางเลือกอื่นๆ


กล่าวคือ มีอัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ณ ชายแดน 2.16 บาทต่อกิโลวัตต์ -ชั่วโมง ตลอดอายุสัญญา 29 ปี
ขณะที่โรงไฟฟ้าทางเลือกในประเทศ คือ โรงไฟฟ้าถ่านหิน และโรงไฟฟ้า ใช้เชื้อเพลิงก๊า ซธรรมชาติ
เหลว (LNG) มีอัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ยอยู่ในช่วงประมาณ 2.90 ถึง 4.30 บาทต่อกิโลวัตต์-ชั่วโมง
นอกจากนี้ การซื้อไฟฟ้า จากประเทศเพื่อนบ้า นยังเป็น การส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีทาง
เศรษฐกิจและสังคมของทั้งสองประเทศ
การจัดการผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ผู้พัฒนาโครงการ (Xayaburi Power Company Limited) ได้ดาเนินการศึกษาผลกระทบด้าน
สังคมและสิ่งแวดล้อม ในด้านผลกระทบต่อคุณภาพน้า อากาศ ดิน ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์น้า และระบบ
นิเวศวิทยาโดยรวม และนาเสนอรายงานการศึกษาดังกล่าว พร้อมทั้ง แผนงานแก้ไขปัญหาผลกระทบ
ต่อรัฐบาล สปป. ลาว
เนื่องจากโครงการฯ ตั้งอยู่บนลาน้าโขง ผู้พัฒนาโครงการได้ดาเนินการออบแบบโครงการฯ
ตามแนวทางปฏิบัติ (Guideline) ของคณะกรรมาธิการแม่น้าโขง (Mekong River Commission :
MRC) โดยมีแผนงานสาคัญในการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สรุปได้ดังนี้
1. การจัดทาระบบทางปลาผ่าน
ผู้พัฒนาโครงการฯ จะจัดให้มีทางปลาว่ายน้าผ่านขึ้นลงขนาดกว้าง 10 เมตร เพื่อให้ปลา
สามารถเดินทางได้ตามฤดูกาลต่า งๆ รวมทั้งจะจัดให้มีส ถานีขยายพันธุ์ป ลา เพื่อ ให้มั่น ใจว่า จะมี
ผลผลิตที่เหมาะสมต่อการประกอบอาชีพประมงของประชาชนที่อาศัยตามริมฝั่งแม่น้าโขงทางปลาผ่านขนาดใหญ่กว้าง 10 เมตร

2. ช่องทางเดินเรือ
ปัจจุบันการคมนาคมและการขนส่งทางเรื อไม่สามารถทาได้ตลอดปี เพราะช่วงหน้าแล้ง
จะมีเกาะแก่งโผล่ ขึ้นหลายแห่ง จึงเป็นอุปสรรคต่อการเดินเรือขนาดใหญ่ ผู้พัฒนาโครงการฯ จะ
ก่อสร้างช่องทางเดินเรือที่รองรับเรือขนส่งสินค้า ขนาดใหญ่ 500 ตัน ทาให้การเดินเรือสะดวกมาก
กว่าเดิม


3. การระบายตะกอน

สาหรับตะกอนแขวนลอยที่มากับน้านั้น โดยธรรมชาติจะมีมากในช่วงน้าหลากที่มีปริมาณ
น้ามากและน้าไหลเร็ว ส่วนในฤดูแล้งตะกอนจะน้อยลง และเนื่องจากโครงการได้ปล่อยน้าผ่า นใน
ปริมาณที่ไหลอยู่ตามธรรมชาติทุกวัน ความเร็วของน้าจะใกล้เคียงกับธรรมชาติ เดิม อย่างไรก็ต าม
โครงการได้ออกแบบให้มีประตูระบายทรายเพิ่มเติม ไว้ เพื่อไม่ให้ขัดขวางการไหลของตะกอนและ
อาหารของสิ่งมีชีวิตในลาน้าอีกส่วนหนึ่งด้วย
4. การป้องกันการกัดเซาะตลิ่ง
การป้องกันการกัดเซาะตลิ่ง โครงการฯ จะรักษาการระบายน้าให้เท่ากับปริมาณน้าที่ไหล
ในลุ่มแม่ น้าโขงในแต่ละวัน โดยการควบคุมน้าจะเป็นแบบรายวัน การเปลี่ยนแปลงระดับน้าเหนือ
เขื่อนไม่เกิน 0.5 เมตร และท้ายเขื่อนไม่เกิน 1.5 เมตร ดังนั้น เมื่อโครงการนี้แล้วเสร็จ ระดับน้าด้าน
เหนือเขื่อนจะค่อนข้างคงที่ตลอดเวลา ส่วนทางด้านท้ายน้านั้นจะเป็นไปตามธรรมชาติ คือ ระดับน้าจะ
สูงในฤดูน้ามากและต่าในฤดูน้าน้อย ซึ่งขึ้นอยูก่ ับปริมาณน้าในแม่น้าโขงตามปกติ
(ข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การออบแบบโครงการฯ ตามแนวทางปฏิบัติ (Guideline) ของ
คณะกรรมาธิการแม่น้าโขง สามารถดูได้ที่ www.mrc.com)


การพิจารณาโครงการของ MRC

รัฐบาล สปป.ลาว ได้เสนอโครงการไซยะบุรีต่อคณะกรรมาธิการลุ่มน้าแม่โขง (Mekong River
Commission : MRC) เพื่อเข้า สู่กระบวนการตามข้อตกลงของประเทศภาคีสมาชิกลุ่มแม่น้าโขง
(Agreement on the Cooperative for the Sustainable Development of the Mekong River
Basin 5th April 1995) ซึ่งประกอบด้วย ประเทศไทย สปป. ลาว เวียดนาม และกัมพูชา
เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2554 สานักงานเลขาธิการฯ ได้จัดประชุมคณะกรรมการร่วมของ MRC
(MRC Joint Committee) ตามกระบวนการ Prior Consultation ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
Procedures for Notification, Prior Consultation and Agreement (PNPCA) โดยมีตัวแทน
MRC ของประเทศไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนามเข้าร่วมประชุมเพื่อพิจารณากรณีการก่อสร้างเขื่อน
ไซยะบุรี ที่นครหลวงเวียงจันทน์ สปป. ลาว
(ข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมของโครงการไซยะบุรีสามารถดูได้ที่ www.xayaburi.com)






วันอาทิตย์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

ເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳຊອງ

ເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳຊອງ

ຊື່ໂຄງການ ນ້ຳຊອງ
ສະຖານທີ່ ແມ່ນໍ້າ: ນ້ຳຊອງ, ແຂວງ: ວຽງຈັນ (ວັງວຽງ)
ວັນທີການດໍາເນີນງານ 2012
ຜູ້ຮັບເຫມົາ Hazama Corporation
ກຳລັງການຕິດຕັ້ງ 6 MW
ພະລັງງານສະເລ່ຍ/ປີ 13.5 GWh/year
ກັງຫັນ 3 unit x 2 MW
ປະເພດໂຄງການ Run-of-River
ປະເພດຂອງເຂື່ອນ Concrete gravity dam


วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

ເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳຄານ 2

 ເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳຄານ 2

ການພັດທະນາເສັ້ນທາງເຂົ້າຫາຊຸມຊົນຂອງ ເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳຄານ 2

ຄຽງຄູ່ກັບການຜະລິດພະລັງງານໄຟຟ້າຂອງ ສປປ ລາວ ກໍ່ຄືຂອງບໍລິສັດ ຜະລິດ-ໄຟຟ້າລາວ ມະຫາຊົນ (ຜ-ຟຟລ), ການພັດທະນາ ພື້ນຖານໂຄງລາງຂອງຊຸມຊົນອ້ອມຂ້າງເຂື່ອນ ຖືເປັນສິ່ງທີ່ສຳຄັນ ແລະ ເປັນໝາກຫົວໃຈຫຼັກ ຂອງການພັດທະນາ ໂດຍສະເພາະ ຊີວິດການເປັນຢູ່ຂອງປະຊາຊົນ ທີ່ອາໃສຢູ່ອ້ອມຂ້າງບັນດາເຂື່ອນຂອງບໍລິສັດ.
ເຂື່ອນໄຟຟ້ານໍ້າຄານ 2-3 ເປັນໜຶ່ງໃນບັນດາເຂື່ອນທີ່ ຜ-ຟຟລ ເປັນຜູ້ຄຸ້ມຄອງ, ຊຶ່ງປັດຈຸບັນພວມມີການພັດທະນາ ໂຄງການປັບປຸງເສັ້ນທາງເຂົ້າຫາເຂື່ອນ ໄຟຟ້ານ້ຳຄານ 2 ທີ່ໄດ້ມີການລິເລີ່ມລົງມືປະຕິບັດ ໂດຍແມ່ນເສັ້ນທາງ ໝາຍເລກ 2 ແຕ່ທ່າເຮືອແກ້ງກຸ້ງ ບ້ານ ພູຊ້າງ, ເມືອງຊຽງເງີນ ແຂວງຫຼວງພະບາງ ຫາ ເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳຄານ 2 ເຊິ່ງມີຄວາມຍາວ ປະມານ 6 ກິໂລແມັດ. ມາຮອດຕົ້ນເດືອນ ຕຸລາ 2019 ນີ້ ແມ່ນໄດ້ສຳເລັດການອະນາໄມ ແລະ ບຸກເບີກຂອບທາງແລ້ວຊຶ່ງມີຄວາມຍາວປະມານ 3 ກິໂລແມັດ.



ໂຄງການປັບປຸງເສັ້ນທາງ ພາຍໃນເຂື່ອນ ໄຟຟ້ານ້ຳຄານ 2-3 ໄດ້ເລີ່ມລົງມືກໍ່ສ້າງໃນຕົ້ນເດືອນ ກໍລະກົດ 2019 ເປັນຕົ້ນມາ, ໂດຍທີ່ ຜ-ຟຟລ ໄດ້ເຊັນສັນຍາຮັບເໝົາກໍ່ສ້າງ ແລະ ມອບໃຫ້ບໍລີສັດ ກຸ່ມດວງຈະເລີນພັດທະນາກໍ່ສ້າງຈຳກັດຜູ້ດຽວ ເຊິ່ງແມ່ນຜູ້ຊະນະການປະມູນ ແລະ ເປັນຜູ້ດຳເນີນການກໍ່ສ້າງ ພາຍໃຕ້ການກວດກາ ການດຳເນີນ ແລະ ຮັບຮູ້ ໂດຍຄະນະຮັບຜິດຊອບ ຂອງ ເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳຄານ 2-3 ທີ່ຂຶ້ນກັບຝ່າຍຜະລິດ ຂອງ ຜ-ຟຟລ ຊຶ່ງໄລຍະຂອງການປະຕິບັດສັນຍາແມ່ນ ລະຫ່ວາງ 2 ປີ.
ໂຄງການປັບປຸງເສັ້ນທາງດັ່ງກ່າວມີຄວາມຍາວທັງໝົດ 17 ກິໂລແມັດ, ກ້ວາງສະເລ່ຍ 6 ແມັດ, ປູຢາງສອງຊັ້ນ ມີຮ່ອງລະບາຍນ້ຳ, ປະກອບດ້ວຍເສັ້ນທາງຫຼັກຄື:

ເສັ້ນທາງໝາຍເລກ 1: ຈາກເສັ້ນທາງເລກທີ 13 ເໜືອ ສີ່ແຍກບ້ານປາກແວດ ຜ່ານບ້ານຈັດສັນບ້ານ ສາມັກຄີໄຊ ຫາຫ້ອງການຂອງເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳຄານ 3 ມີຄວາມຍາວ 1.4 ກິໂລແມັດ.

ເສັ້ນທາງໝາຍເລກ 2: ຈາກທ່າເຮືອແກ້ງກຸ້ງ ຫາ ຫ້ອງການເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳຄານ 2 ມີຄວາມຍາວ 6 ກິໂລເເມັດ.

ເສັ້ນທາງໝາຍເລກ 3: ເສັ້ນທາງຈາກ ຫ້ອງການເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳຄານ 2 ຜ່ານຂົວນໍ້າຄານ ທີ່ເຂດບ້ານໜອງດີເກົ່າໄປຫາໂຮງຈັກ ແລະ ກັບໄປຮອດປ້ອມຍາມ ກ້ອງເຂື່ອນມີຄວາມຍາວ 1.5 ກິໂລແມດ.

ເສັ້ນທາງໝາຍເລກ 4: ເສັ້ນທາງຈາກ ສາມແຍກບ້ານໜອງດີເກົ່າ ຂຶ້ນໄປທາງ Spillway ຜ່ານ ເຂື່ອນຫີນແຂງອັດແໜ້ນ ສາບໜ້າດ້ວຍຄອນກຣິດ ຫາ ບ້ານຈັດສັນພູຊ້າງ ມີຄວາມຍາວ 8.2 ກິໂລແມດ.
ການປັບປຸງເສັ້ນທາງດັ່ງກ່າວແມ່ນເພື່ອ ແກ້ໄຂການສັນຈອນໄປມາ ຂອງປະຊາຊົນທີ່ອາໃສຢູ່ໃກ້ກັບເຂື່ອນໄຟຟ້ານໍ້າຄານ 2-3 ໃຫ້ມີຄວາມສະດວກ ແລະ ປອດໄພຂຶ້ນກ່ວາເກົ່າ, ທັງນີ້ ກໍ່ເພື່ອເປັນການຍົກສູງຄຸນນະພາບຊີວິດການເປັນຢູ່ ຂອງປະຊາຊົນໃຫ້ດີຂຶ້ນເທື່ອລະກ້າວ.​ ສິ່ງດັ່ງກ່າວໄດ້ສະແດງອອກໃຫ້ເຫັນເຖີງຄວາມ ເອົາໃຈໃສ່ຂອງບໍລິສັດ ທີ່ຍາມໃດກໍ່ໍ່ມີຄວາມເປັນຫ່ວງເປັນໄຍ ຕໍ່ ຊີວິດການເປັນຢູ່ຂອງປະຊາຊົນໃນເຂດນີ້.


ຊື່ໂຄງການ ນ້ຳຄານ 2
ສະຖານທີ່ ແມ່ນໍ້າ: ນ້ຳຄານ 2, ແຂວງ: ຫລວງພະບາງ
ວັນທີການດໍາເນີນງານ 2015
ຜູ້ຮັບເຫມົາ SinoHydro (China)
ກຳລັງການຕິດຕັ້ງ 130 MW
ພະລັງງານສະເລ່ຍ/ປີ 558 GWh/year
ກັງຫັນ 2 units x 65 MW (Francis)
ປະເພດໂຄງການ Reservoir
ປະເພດຂອງເຂື່ອນ Rock fill dam
ເນື້ອທີ່ອ່າງໂຕ່ງ 5167 km2


ເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳສະນາ ວຽງຈັນ

ເຂື່ອນໄຟຟ້ານ້ຳສະນາ
ສະຖານທີ່ ແມ່ນໍ້າ: ນ້ຳສະນາ, ແຂວງ: ວຽງຈັນ
ວັນທີການດໍາເນີນງານ 2014
ຜູ້ຮັບເຫມົາ Nawarat (Thai)
ກຳລັງການຕິດຕັ້ງ 14 MW
ພະລັງງານສະເລ່ຍ/ປີ 49.55 GWh/year
ກັງຫັນ 3 unit x 4.69 MW
ປະເພດໂຄງການ Run-of-River
ປະເພດຂອງເຂື່ອນ Concrete Spillway & Earth fill embankment
ເນື້ອທີ່ອ່າງໂຕ່ງ 96 km2



ອົງປະກອບເຂຶ່ອນໄຟຟ້າກ່ອນສົ່ງຂາຍ

ທ່ານຮູ້ບໍ່ວ່າ ກ່ອນທີ່ຈະຜະລິດໄຟຟ້າດ້ວຍພະລັງງານນໍ້າເພື່ອສົ່ງຂາຍ ຈະຕ້ອງມີອົງປະກອບຫຍັງແດ່ ຂອບໃຈພາບຈາກ:Namtheun2 ...